วางแผนปรับขนาดหน่วยงานราชการและจำนวนบุคลากรให้สอดคล้องกับภารกิจ พร้อมทั้งพัฒนาศักยภาพบุคลากรภาครัฐให้เป็นคนดี เก่ง มีคุณธรรม และความเป็นมืออาชีพ
ผลการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ
ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต (ศปท.)
ระบบการเงินการคลังสนับสนุนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ
การบริหารราชการไทยนอกเหนือจากการปฏิรูปเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนและภารกิจของราชการอันเป้าหมายหลักแล้วปัจจัยแวดล้อมต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นเศรษฐกิจ สังคม การเมือง เทคโนโลยีและวิทยาการก็ล้วนก็ล้วนมีอิทธิพลที่ส่งผลให้องค์การต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนจำเป็นต้องมีการปฏิรูปเพื่อตอบสนองการเปลี่ยนแปลง สำหรับประเทศไทยมีความจำเป็นในการปฏิรูประบบราชการ
สำนักข่าวกรองแห่งชาติ • สำนักงบประมาณ • สำนักงานขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง • สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา • สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน • สำนักงานคณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติ • สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ • สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน • สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ • สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ • สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ • สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี • สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี • กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร • ศูนย์อำนวยการรักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเล
เป้าประสงค์ : พัฒนาระบบบริหารงานแบบบูรณาการระหว่างส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น แบบยึดพื้นที่อย่างเป็นองค์รวมกับทุกภาคส่วน โดยใช้กลไกประชารัฐ ออกแบบโครงสร้างและระบบบริหารงานที่รองรับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สำคัญของประเทศ พร้อมทั้งต้องมีการเปิดเผยโปร่งใสในการทำงาน โดยบุคคลภายนอกสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของทางราชการหรือมีการแบ่งปันข้อมูลซึ่งกันและกัน และสามารถเข้ามาตรวจสอบการทำงานของรัฐได้
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
พระราชบัญญัติการอํานวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ
คู่มือการจัดตั้งธุรกิจค้าปลีก คู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองประจำปีงบประมาณ
คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบราชการ (อ.ก.พ.ร.)
มาตรการส่งเสริม การเงิน ภาษี และบัญชีนวัตกรรม
ในการปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการ ต้องใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้คำนึงถึงความับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วมของประชาชน การเปิดเผยข้อมูล การติดตามตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงาน
พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ พฤติกรรมการการบริหารของข้าราชการไทยที่ผ่านมามักถูกวิพากษ์วิจารณ์ในแง่ลบมาโดยตลอดโดยเฉพาะการถูกมองว่าปฏิบัติงานไม่คุ้มค่ากับภาษีอากรของประชาชน ทำงานแบบเช้าชามเย็นชาม ให้ความสำคัญกับกฎระเบียบและผู้บังคับบัญชามากกว่าประชาชน ระบบราชการไทย การปฏิรูปพฤติกรรมการทำงานของข้าราชการและเจ้าหน้าที่รัฐจึงเป็นวาระเร่งด่วนสำหรับการบริหารราชการไทย